กรณีศึกษา การจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อเด็กก่อนวัยเรียน....ส่งเสริมการเรียนรู้โดยภาคเอกชน
https://mahachaithailand.blogspot.com/2021/08/blog-post_14.html
ตั้งชื่อ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ โรงเรียนสาธิต ลุ่มน้ำเข็ก
1.โครงการ พัฒนาสื่อการเรียน อิเลคโทนิก แจกแทปเลค
2.โครงการ พัฒนา การเรียน ถาษา สากล ระยะที่1 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ให้มีความสามารถสูง..
3.โครงการ ส่งเสิรมการอ่านและการศึกษาค้นค้วา สารานุกรม ไทยและโลก
4.ส่งเสริม การเรียนรู้ ชั้น อนุบาลปีที่1-2-3 ก่อนวัยเรียน
5.ส่งเสริมการกีฬา และวัฒธรรม ไทยและโลก ทุกชั้นปี
6.ส่งเสริมการงานการอาชีพวัยเด็ก
การพัฒนาการศึกษาของประเทศไทยเราสามารถที่จะพัฒนา ความรู้ของเด็กและเยาวชนตั้งแต่ วัยอนุบาล การศึกษาของเด็กและเยาวชนไทยนั้นเริ่มตั้งแต่วัยอนุบาลเป็นหลัก ฉะนั้น กระผมมีความคิดที่จะพัฒนา ความรู้ความสามารถของเด็ก โดยการเริ่ม ให้การเรียนรู้ของเด็กตั้งแต่วัยอนุบาลคือตั้งแต่ 3 ขวบขึ้นไป จนถึง อายุ 15 ปี หรือในระดับ การเรียนรู้มัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งการศึกษาในระดับเหล่านี้เป็นหน้าที่ของเทศบาลประจำตำบลหรือการปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งอบตเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง เพราะฉะนั้น ซึ่งมันสอดคล้องกับแนวความคิดของกระผมและองค์กรที่มีความต้องการจะสนับสนุนให้การศึกษาของเด็กก่อนวัยเรียนและวัยประถม และมัธยมในระดับต้น การศึกษาในระดับนี้เราต้องเข้าใจผู้ศึกษาและ ผู้ให้การศึกษาซึ่งมีทั้งหมดอยู่ 3 กลุ่มด้วยกันกลุ่มที่ 1 นั้นเรียกว่ากลุ่มของผู้ปกครองซึ่งเป็นผู้ปกครองของเด็กจะต้องมีความพร้อมในการ ให้อุปการะ เด็กซึ่งอยู่ใต้การปกครอง พร้อมที่จะให้บุตรหลานของตนเองได้รับการศึกษาเป็นอย่างดีซึ่งสถานศึกษาที่มีศักยภาพนั้นต้องเป็นสถานศึกษาอยู่ในการดูแลขององค์การบริหารการปกครองส่วนท้องถิ่นที่อยู่ใกล้บ้านของท่าน ส่วนที่ 2 ก็คือ คือส่วนนี้เป็นส่วนที่เป็นบุคลากรทำหน้าที่การเรียนการสอนทำหน้าที่สอนเด็กให้มีความรู้ความสามารถซึ่งเรียกว่าครูอาจารย์ซึ่งเป็นปูชนียบุคคลเป็นบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถจะต้องมีประสบการณ์ในการเรียนรู้ความสามารถเป็นอย่างสูง เมื่อสอนให้นักเรียนสอน เด็กที่อาจารย์สอน จะต้องมีความรู้ความสามารถเป็นอย่างดีคุณสมบัติของอาจารย์จะต้องได้รับการศึกษาในระดับสูงมีประสบการณ์ในการสอนมีประสบการณ์ในการให้ความรู้มีประสบการณ์นานาชนิดพร้อมที่จะสอนศิษย์ให้มีความรู้ความสามารถและสามารถที่จะนำความรู้ไปศึกษาเพิ่มเติมในสถาบันอื่นๆสามารถที่จะเกิดงานในหน้าที่เกิดอาชีพที่ดีโดยครูเป็นผู้สอน ส่วนที่ 3 ส่วนที่ 3 เป็นเรื่องของนักเรียนที่จะต้องตั้งใจเรียนมีความสามารถมีความพร้อมทางด้านร่างกายจิตใจและสุขภาพมีความพร้อมทั้งด้านภายในและภายนอกซึ่งหมายถึงคุณภาพของชีวิตตลอดจน คุณภาพชีวิตของเด็กนักเรียนจะต้องมี ความ หวังที่ดีความต้องการที่ดีมีคุณธรรมที่ดีมีจริยธรรมที่ดี ฉะนั้นความพร้อมของผู้เรียนจะต้องมีศักยภาพ ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในความพร้อมเหล่านี้ทั้งสถานที่เรียนทั้งบุคลากรในการสอนทั้งคุณณภาพชีวิตของนักเรียนที่พร้อมที่จะศึกษาในแต่ละชั้นเรียนตั้งแต่ก่อนวัยเรียนคือวัยอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาที่องค์กรบริหารส่วนตำบลเป็นผู้รับผิดชอบในการดูแลบุคลากรดูแลเด็กๆเหล่านั้นกระผมดร. สมัยเหมมั่นและดร ไชยณัฐแสงมณีมีความเห็นตรงกันจึงรวบรวมข้อมูลทางด้านการวิเคราะห์เพื่อจะส่งเสริมคุณภาพการศึกษาและชีวิตความเป็นอยู่ของเด็กในศูนย์การเรียนรู้ของตำบลและร่วมมือกับ องค์การบริหารส่วนตำบลเพื่อเป็นแนวทางเพิ่มคุณค่าชีวิตเป็นแนวทาง เพิ่มคุณภาพชีวิตเป็นแนวทางเพิ่มคุณภาพการศึกษาของเด็กก่อนวัยเรียนและวัยประถมศึกษาวัยมัธยมซึ่งเป็นศูนย์การศึกษาการเรียนรู้ประจำตำบลในแต่ละแห่งในประเทศไทยและเป็นโมเดลต่อไปโดยมีองค์กรภาคเอกชนและบุคลากรภาคเอกชนที่มีความรู้ความสามารถให้การสนับสนุนเป็นกรณีศึกษาจึงเรียนมาเพื่อให้ผู้ที่ศึกษาทางด้านการพัฒนาการศึกษาไว้เป็นแบบอย่างในการพัฒนาชุมชนเบื้องต้น
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น